วันพุธที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2558

Reported Speech

Reported Speech
เมื่อจะนำคำพูดของใครไปเล่าให้ผู้อื่นฟัง อาจมีวิธีพูดได้ 2 วิธี คือ
1. โดยยกคำพูดจริง ๆ ของผู้พูดไปเล่าให้ฟังทั้งหมดโดยไม่เปลี่ยนแปลง เรียกว่า Direct Speech เช่น
John said, "I like Mathematics."
ข้อความว่า "I like Mathematics" เป็น Direct Speech

2. โดยดัดแปลงเป็นคำพูดของผู้เล่าเอง เรียกว่า Indire อ่านต่อ

should have + Verb

น่าจะ (should have + Verb ช่อง 3)
posted on 20 Feb 2012 08:06 by thevevil
เวลาที่เราทำอะไรผิดพลาดไปแล้ว เรารู้สึกเสียใจ รู้สึกว่าไม่น่าที่จะทำอย่างนั้น หรือรู้สึกว่าน่าจะทำอย่างอื่นแทน ถ้าเป็นในสถานการณ์แบบนี้ ในภาษาอังกฤษเราสามารถใช้โครงสร้างประโยค should have เพื่อที่จะแสดงความรู้สึกนี้ออกมาได้ครับ

ในสถานการณ์ที่เรารู้สึก regret ซึ่ง regret  อ่านต่อ

Past Perfect Tense

หลักการใช้ Past Perfect Tense
ใช้กับเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ ที่เกิดขึ้น และสิ้นสุดลงแล้วในอดีตทั้ง2เหตุการณ์ซึ่งเหตุการณ์หนึ่งได้สิ้นสุดลงก่อนหน้าอีกเหตุการณ์ โดย
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและสิ้นสุดลงก่อนจะใช้Past Perfect Tense
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและสิ้นสุดลงทีหลังจะใช้Past Simple Tense
We had gone outbeforehe came.
(เราออกไปข้างนอกกันแล้วก่อนที่เขาจะมา) อ่านต่อ


 หลักการใช้ Past Perfect Tense ใน ภาษาอังกฤษ

Causative Form

รู้จักการใช้ Causative Form - have something done, have someone do
ในภาษาอังกฤษจะมีประโยคแบบพิเศษอยู่แบบหนึ่ง ซึ่งประธานของประโยคไม่ได้เป็นคนทำการกระทำนั้นด้วยตัวเอง แต่ให้บุคคลอื่นทำการกระทำต่างๆ ให้ตัวเอง เช่น หากเราจะไปตัดผม (โดยให้ช่างตัดผมตัดให้) เราจะไม่สามารถพูดว่า I will cut my hair. ได้ เพราะคนฟังจะเข้าใจผิดว่าเราจะทำการตัดผมของเราด้วยตัวเราเอง

นี่เป็นที่มาของการนำประโยค causative form มาใช้ ซึ่งมีหลักให้ท่องง่ายๆ คือ have something done และ have someone do something อ่านต่อ

Conditional sentences

Conditional sentences หรือที่หลายคนรู้จักในนาม if-clause คือ ประโยคเงื่อนไข ประกอบด้วยอนุประโยค (ประโยคย่อย) สองประโยค ประโยคหนึ่งขึ้นต้นด้วยคำว่า If กับอีกประโยคหนึ่งมีหน้าตาเหมือนประโยคสมบูรณ์ทั่วไป สังเกตว่า อนุประโยคสองประโยคนี้สลับที่กันได้ จะยกประโยคไหนขึ้นต้นก็ได้ แล้วแต่การเน้นและความหมาย  อ่านต่อ
conditional-clauses

Preposition

Preposition หรือคำบุพบทคือ คำที่ใช้เชื่อมคำนามกับคำนาม หรือเชื่อมคำนามกับ
วลี/ประโยค โดยจะมีอยู่ประมาณ 40 กว่าคำที่ใช้บ่อย และการใช้ preposition จะแบ่ง
ออกเป็น 3 วิธี ดังนี้
    1. การใช้ preposition ตามความหมายของ preposition
    2. การใช้ preposition แสดงวันที่, วัน, เดือน, ปี และเวลา

    3. การใช้ preposition แบบ collocation  อ่านต่อ

Modal verb

Modal verb หรือกริยาช่วย อันได้แก่ can, could, may, might, will และ would
ฯลฯ นั้น ทำหน้าที่ได้ 2 ประการ คือ 1) ใช้แสดง ความเป็นไปได้และ 2) ใช้แสดง

มารยาททางสังคมต่างๆอ่านต่อ

Pronouns

Pronouns คือ คำที่ใช้เพื่อทดแทนคำนาม หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า สรรพนามสำหรับ Reflexive pronouns (ริเฟล็กซิฟวฺ โพรนาวสฺ) หมายถึง สรรพนามที่สะท้อนกลับไปยังคำนามหรือสรรพนามที่ทำหน้าที่ประธานในประโยค ข้อสังเกตของสรรพนามประเภทนี้คือลงท้ายด้วย -self ถ้าเป็นเอกพจน์ หรือ -selves ถ้าเป็นพหูพจน์ ได้แก่ อ่านต่อ

Passive Voice

Passive Voice คือ โครงสร้างประโยคที่ประธานเป็นผู้ถูกกระทำ ซึ่งกริยาหลักจะอยู่ในรูปของ กริยาช่วยbe + V3 มาดูกันครับว่าในแต่ละ Tense นั้น Passive Voice จะมีรูปแบบอย่างไรบ้าง 
*เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย
     ประโยคที่ประธานเป็นผู้กระทำเรียกว่า Active Voice

     ประโยคที่ประธานเป็นผู้ถูกกระทำเรียกว่า Passive Voice  อ่านต่อ

will และ going to

 Do you have a plan for this weekend?
(คุณคิดว่าคุณมีแผนที่จะทำอะไรช่วยหยุดสุดสัปดาห์นี้)
I think I will go fishing.

(ฉันคิดว่าฉันจะไปตกปลา) อ่านต่อ

Present Perfect

have/has + past participle
ส่วนรูป (form ฟอม) ของ Present Perfect Continuous จะขอสรุป
เฉพาะภาคกริยาช่วย และกริยาแท้ไว้ดังนี้คือ
กริยาช่วย have been/has been

กริยาแท้ Verb.ing  อ่านต่อ

Present Simple Tense

หลักการใช้ Present Simple Tense
1.     ใช้กับเหตุการณ์หรือการกระทำที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน หรือเกิดขณะที่พูดเช่น
        Ann watches television.
        Ron takes a bath in the bathroom.
2.      ใช้กับเหตุการณ์หรือการกระทำที่เป็นจริงตามธรรมชาติไม่ว่าจะเป็นอดีต ปัจจุบัน
        หรืออนาคตเช่น
       Tiger is a dangerous animal.
       The earth moves around the sun.

3.    ใชักับเหตุการณ์หรือการกระทำที่เกิดขึ้นบ่อยๆซ้ำๆจนเป็นกิจวัตรประจำวันหรือประจำเดือน

Phrasal verbs

Phrasal verbs หรือ two-word verbs

        คือ การใช้คำกริยาที่ปกติแล้วมีความหมายอย่างหนึ่ง แต่ส่วนประกอบ เมื่อ verb+ preposition or particle มารวมกันเป็น Phrasal verbs แล้ว อาจจะทำให้เกิดความหมายใหม่ขึ้นมาซึ่งอาจจะไม่มีเค้าความหมายของคำกริยาเดิม เลย นิยมใช้กันมากในภาษาอังกฤษ
หลักสำคัญในการใช้ Phrasal Verbs หรือ Two-Word Verbs
1.เมื่อไม่มี direct object ต้องวาง adverb ไว้ติดกับ verb เช่น
   - please come in.
   - Don't give up, whatever happens.
2. เมื่อมี object pronoun เช่น him, her, it, them, me, us,  เป็น direct object ต้องวาง object เหล่านี้ไว้หน้า adverb เช่น
   - I can't make it out. (right)
   - I can't make out it.(wrong)
3. เมื่อมี noun เช่น book , pen , houses , etc. เป็น direct object จะวาง noun ไว้หน้าหรือหลัง adverb ก็ได้  (verb+adverb +noun) หรือ (verb +noun +adverb) เช่น
   - Turn on the light.  หรือ  - Turn the light on.
4. ตามข้อ 3 ถ้า object เป็นคำยาว เช่นมี object clause ขยายต้องวาง object ไว้หลัง adverb เช่น
   - He gave away every book that he possesed. (right)
   - He gave every book that he possesed away. (wrong)
5. ในประโยคอุทาน (exclamatory Sentences) ให้วาง adverb ไว้หน้าประโยคยืดหลักดังนี้
   5.1 ถ้าประธานเป็น noun เอากริยาตามมาได้เลย เช่น
      -Off went john! = John went off.

   5.2 ถ้าประธานเป็น pronoun ใหัใช้แต่ adverb ไม่ต้องใช้ verb เช่น   -Away they went ! = They went away.Phrasal verbs หรือ two-word verbs

          คือ การใช้คำกริยาที่ปกติแล้วมีความหมายอย่างหนึ่ง แต่ส่วนประกอบ เมื่อ verb+ preposition or particle มารวมกันเป็น Phrasal verbs แล้ว อาจจะทำให้เกิดความหมายใหม่ขึ้นมาซึ่งอาจจะไม่มีเค้าความหมายของคำกริยาเดิม เลย นิยมใช้กันมากในภาษาอังกฤษ
หลักสำคัญในการใช้ Phrasal Verbs หรือ Two-Word Verbs
1.เมื่อไม่มี direct object ต้องวาง adverb ไว้ติดกับ verb เช่น
   - please come in.
   - Don't give up, whatever happens.
2. เมื่อมี object pronoun เช่น him, her, it, them, me, us,  เป็น direct object ต้องวาง object เหล่านี้ไว้หน้า adverb เช่น
   - I can't make it out. (right)
   - I can't make out it.(wrong)
3. เมื่อมี noun เช่น book , pen , houses , etc. เป็น direct object จะวาง noun ไว้หน้าหรือหลัง adverb ก็ได้  (verb+adverb +noun) หรือ (verb +noun +adverb) เช่น
   - Turn on the light.  หรือ  - Turn the light on.
4. ตามข้อ 3 ถ้า object เป็นคำยาว เช่นมี object clause ขยายต้องวาง object ไว้หลัง adverb เช่น
   - He gave away every book that he possesed. (right)
   - He gave every book that he possesed away. (wrong)
5. ในประโยคอุทาน (exclamatory Sentences) ให้วาง adverb ไว้หน้าประโยคยืดหลักดังนี้
   5.1 ถ้าประธานเป็น noun เอากริยาตามมาได้เลย เช่น
      -Off went john! = John went off.
   5.2 ถ้าประธานเป็น pronoun ใหัใช้แต่ adverb ไม่ต้องใช้ verb เช่น   -Away they went ! = They went away.